วันเสาร์ที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2553

สมาชิกในกลุ่ม


สมาชิกในกลุ่ม
1. เด็กหญิง กวิลทิพย์ เสนาะเสียง ม. 2/4 เลขที่ 22
2. เด็กหญิง วิลาพร สิมสาร ม. 2/4 เลขที่ 34
3.เด็กหญิง จิราภรณ์ เยี่ยมเจริญ ม. 2/4 เลขที่ 31
4.เด็กหญิง สุพัตรา สิงยะเมือง ม. 2/4 เลขที่ 30

โบทูลิน

โบทูลิน ที่พบในอาหารกระป๋อง เมื่อรับประทานจะเกิดอาการปวดท้องและทำลายระบบประสาท ดังนั้นจึงควรหลีกเลี่ยงการซื้ออาหารกระป๋องที่กระป๋องมีลักษณะผิดปกติ บวม บุบ เป็นสนิม

สารที่ทำให้เนื้อมีสีสวย

สารที่ทำให้เนื้อมีสีสวย คือ โพเเทสเซียมไนเตรต หรือดินประสิว ถ้ารับทานเข้าไปทำให้หน้ามืดหายใจขัด

สารที่ทำให้เนื้อนุ่ม

สารที่ทำให้เนื้อนุ่ม คือ โซเดียมคาร์บอเนตหรือโซดาซักผ้า ถ้ารับประทานเข้าไปจะทำให้ท้องร่วง หรือ คลื่นใส้ อาเจียน พบในเนื้อวัว หรือเนื้อหมู

สารกันบูด

สารกันบูด เป็นสารอาหารที่ทำให้อาหารเก็บไว้ได้นาน โดยไม่เสีย เช่น พบในขนมปังเนย

ผงบอแรกซ์

ผงบอแรกซ์ เป็นสารที่ทำให้อาหารมีความกรอบ เมื่อรับทานเข้าไปเป็นประจำจะทำให้ไตอักเสบ ส่วนมากพบในลูกชิ้น ใส้กรอก

ผงชูรส

ผงชูรส มีทั้งของแท้และของเทียม ผงชุรสแท้ผงชูรสที่มีโมโนโซเดียมโกลูตาเมตไม่น้อยกว่า 95 %

กำมะถัน

กำมะถันจำเป็นสำหรับการสร้างโปรตีนในร่างกาย

โฟแทสเซียม

โฟแทสเซียม ควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อโดยเฉเพาะกล้ามเนื้อหัวใจ และระบบประสาท แหล่งอาหาร เนื้อสัตว์ นม และผลไม้

โซเดียม

โซเดียม ควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อในการยืดและหดตัว ควบคุมการทำงานของระบบประสาท ควบคุมสมดุลออสโมสซิส แหล่งอาหาร เกลือแกง อาหารทะเล นม ไข่ ผักใบเขียว

ไอโอดีน

ไอโอดีน ควบคุมต่อมไทรลอยให้ผลิตฮอร์โมนถ้าผู้ใหญ่ขาดเป็นโรคคอพอกถ้าเด็กๆ ขาดเป็นโรคแคระแกร็นและโรคเอ๋อ แหล่งอาหาร อาหารทะเล เกลือนามัย (เกลือสมุทร)

เหล็ก

เหล็ก เป็นส่วนประกอบของเอนไซม์บางชนิดเป็นส่วนประกอบของเฮโมโกลบินในเม็ดเลือดแดง แหล่งอาหาร ตับ เนื้องวัว ไข่แดง ผักสีเขียว

ฟอสฟอรัส

ฟอสฟอรัส ช่วยในการสร้างกระดูกและฟัน สร้างเซลล์สมองและประสาท ช่วยในการดูดซึมของคาร์โบไฮเดรต แหล่งอาหาร นม เนื้อ ไข่ พืชต่างๆ

แคลเซียม

แคลเซียม เป็นส่วนประกอบของกระดูดและฟัน ควบคุมการทำงานของหัวใจ ระบบประสาทและกามเนื้อ แหล่งอาหาร นม เนื้อ ไข่ ปลาที่ทานก้าง

แร่ธาตุที่จำเป็นต่อร่างกาย

แร่ธาตุเป็นสารอาหาร อีกอย่างหนึ่งที่ร่างกายต้องการและขาดไม่ได้ เพราะเป็นส่วนประกอบของอวัยวะบางอย่าง

วิตามินเค

วิตามินเค ช่วยให้เลือดเป็นลิ่มเร็ว แหล่งอาหาร ตับ ผัก ข้าวโพด เห็ด

วิตามินอี

วิตามินอี ทำให้เม็ดเลือดแดงแข็งแรง ไม่เป็นหมัน แหล่งอาหาร ผักสีเขียว ไขมันจากพืช มะพร้าว

วิตามินดี

วิตามินดี ช่วยให้ร่างกายดูดซึมธาตุแคลเซียมและฟอสฟอรัสเพื่อใช้สร้างกระดูก แหล่งอาหาร
มน ไข่ ตับ น้ำมันตับปลา รังสี uv

วิตามินซี

วิตามินซี ช่วยรักษาสุขภาพฟันและเหงือก ทำใหหลอดเลือดแข็งแรง ร่างกายแข็งแรง แหล่งอาหาร ผลไม้จำพวกส้ม มะละกอ มะเขือเทศ

วิตามินบี 12

วิตามินบวี 12 จำเป็นในการสร้างเม็ดเลือดแดง ช่วยในการเจริญเติบโตในเด็ก แหล่งอาหาร ตับ ไข่ เนื้อปลา

วิตามินบี 6

วิตามินบี 6 ช่วยการทำงานของระบบย่อยอาหารและบำรุงผิวหนัง แหล่งอาหาร ตับ นม ถั่วลิสง ถั่วเหลือง เนื้อสัตว์

วิตามินบี 3 หรือ บี 5

วิมินบี 3 หรือ บี 5 ป้องกันโรคประสาท แหล่งอาหาร ตับ เนื้อสัตว์ ยีสต์ ถั่ว ผักใบเขียว

วิตามินบี 2

วิตามินบี 2 ช่วยให้เจริญเติบโต เป็นไปอย่างปกติ ทำให้ผิวหนัง ลิ้น ตา มีสุขภาพดี แหล่งอาหาร ไข่นม
เนื้อสัตว์ ปลา

วิตามินบี 1

วิตามินบี 1ช่วยบำรุงระบบประสาทและการทำงานของหัวใจ แหล่งอาหาร ข้าวซ้อมมือ ตับ ถั่ว ไข่

วิตามินที่จำเป็นต่อร่างกาย

วิตามินเอ ช่วยบำรุงสายตา รักษาสุขภาพผิวหนัง แหล่งอาหาร คือ ตับ ไข่แดง นม ผักบุ้ง

วันศุกร์ที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2553

น้ำผักผลไม้กับการรักษาโรค

นอกจากการ ใช้นำดื่มผลไม้เพื่อบำรุงสุขภาพนักธรรมชาติบำบัดบางท่านก็ใช้ผลไม้บำรุงผิว

ผักผลไม้ที่ช่วยบำรุงสายตา

ผักผลไม้ที่ช่วยบำรุงสายตาคือ ผักบุ้ง ส้ม กล้วย มะละกอ

ผักผลไม้ที่ช่วยบำรุงผิว

ผักผลไม้ที่ช่วยบำรุงผิวคือ มะเขือเทศ แตงกวา และแตงชนิดต่างๆล้วนทำให้ผิวสวย

สรรพคุณของผลไม้

ผลไม้ที่มีสรรพคุณในการแก้โรคเบาหวานคือ มังคุด
ผลไม้ที่ช่วยยับยั้งโรคมะเร็งคือ องุ่น

ผลไม้ที่มีวิตามินซีสูง

ผลไม้ที่มีวิตามินซีสูงที่จำเป็นต่อร่างกาย เช่น ส้ม มะละกอ มะนาว ล้วนมีวิตามินซีที่จำเป็นต่อร่างกาย

ผลไม้ที่ให้ประโยชน์

ผลไม้แต่ละชนิดให้ทั้งประโยชน์และโทษ
หากเรากินพอดีก็จะให้ประโยชน์แก่ร่างกายแต่ถ้ากินมากไปก็จะก่อเกิดโทษแก่ร่างกาย